WebBoard :กฎหมาย|บ้านเป็นตึกแถวปลูกมาก่อนปี 2520 ปัจจุบัน กทม บอกว่าการเอารถเข้าออกโดยเหยียบฟุตบาท ผิดกฏหมาย

บ้านเป็นตึกแถวปลูกมาก่อนปี 2520 ปัจจุบัน กทม บอกว่าการเอารถเข้าออกโดยเหยียบฟุตบาท ผิดกฏหมาย

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

บ้านเป็นตึกแถวปลูกมาก่อนปี 2520 ปัจจุบัน กทม บอกว่าการเอารถเข้าออกโดยเหยียบฟุตบาท ผิดกฏหมาย

  • 39
  • 2
  • post on 2 ธ.ค. 2567, 12:54

ผมมีเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับต้นไม้หน้าบ้านขวางทางรถ กับ กทม โดย กทม แจ้งว่า ไม่สามารถรื้อถอนได้ เพราะ


กทม ได้หรือครับ

โดยคุณ เดโช (1.179.xxx.xxx) 2 ธ.ค. 2567, 12:54

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 2

พรบ.จราจรทางบก คัดลอกมาหายไปเฉยๆ เลยนำมาส่งใหม่...


พรบ.จราจรทางบก พ.ศ.2522

แก้ไขปี 2565ฝ่าฝืน ม.55 ปรับไม่เกินสองพันบาท


โดยคุณ มโนธรรม เจษฎาสาธุชน 3 ธ.ค. 2567, 10:18

ความคิดเห็นที่ 1

ทางเท้า (ฟุตบาท)/ต้นไม้ขวางทาง


คัดลอก พรบ.จราจามาให้อ่าน  ตามที่ท่านถาม  ถ้าเอากฎหมายมาว่ากันก็มีความผิดครับ คือปรับไม่เกินสองพันบาท....เรื่องต้นไม้กีดขวาง  ก็เป็นเรื่องละเอียดอ่อนพอสมควร ถ้าไปตัดต้นไม้ออก  คนปลูก(เจ้าของ)ก็คงแจ้งข้อหาทำให้เสียทรัพย์  แม้จะปลูกในที่สาธารณะ  คนตัดก็มีความผิด เคยมีคดีตัดกิ่งงิ้ว  เพราะรุกล้ำมาในที่ดิน  ต้องว่ากันถึงฎีกา   แม้สุดท้ายไม่มีความผิด  แต่มันจะคุ้มหรือกับการมีคดีความตั้งสามศาล....ดังนั้น กทม. จึงไม่อยากมีปัญหากับมวลชน  ก็จึงบอกปัดไปว่าทำไม่ได้...คุณก็สงสัยแล้วจะแก้ไขอย่างไร  ก็ใช้การละเมิดมาแก้ไข  ก็แจ้งเจ้าของต้นไม้  ให้ตัดออก  ถ้าเขาไม่ตัดออกก็ฟ้องฐานละเมิด  และให้ตัดออก  ถ้าเป็นคำสั่งศาลจะปลอดภัยที่สุด   แต่ก็คงยุ่งยาก...ทางแก้ไขที่ง่ายกว่า เช่น ขอร้องเจ้าของต้นไม้ให้ตัดออก   ถ้าเขาไม่ตัด  ก็ใช้วิธีไปแจ้งตำรวจ ให้ช่วยเจรจาให้ และทำบันทึกว่าเขายินยอมให้ตัดต้นไม้ได้ วิธีนี้น่าจะสะดวก  และปลอดภัย ที่สุด...แต่ถ้าไปตัดออกโดยพลการ  มีเรื่องแน่  เพราะคนทุกวันชอบหาเรื่องาราวกัน ชอบมีข่าวไม่เว้นแต่ละวัน   ดังนั้นต้องใจเย็นทำไปตามขั้นตอน   แม้ล่าช้า  ก็ปลอดภัย  ด้วยความปรารถนาดี ครับ


โดยคุณ มโนธรรม เจษฎาสาธุชน 3 ธ.ค. 2567, 10:15

ตอบความคิดเห็นที่ 1

พรบ.จราจรทางบก พ.ศ.2522

บนทางเท้า

แก้ไขปี 2565ฝ่าฝืน ม.55 ปรับไม่เกินสองพันบาท


โดยคุณ มโนธรรม เจษฎาสาธุชน 3 ธ.ค. 2567, 10:19

แสดงความเห็น