ตัวอย่างหลักสูตร/หลักสูตร แนวทางการปราบทุจริตในสหกรณ์|ตัวอย่างหลักสูตร/หลักสูตร แนวทางการปราบทุจริตในสหกรณ์

ตัวอย่างหลักสูตร/หลักสูตร แนวทางการปราบทุจริตในสหกรณ์

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ตัวอย่างหลักสูตร/หลักสูตร แนวทางการปราบทุจริตในสหกรณ์

  • Defalut Image

คำนิยามเกี่ยวกับการทุจริต

บทความวันที่ 24 เม.ย. 2560, 14:58

มีผู้อ่านทั้งหมด 10365 ครั้ง


ตัวอย่างหลักสูตร /หลักสูตร แนวทางการปราบทุจริตในสหกรณ์

คำนิยามเกี่ยวกับการทุจริต
    1.ความหมายของคำว่า “สุจริต”
    2.ทุจริตตามกฎหมายอาญา
    3.ทุจริตตามกฎหมาย ป.ป.ช.
    4.ทุจริตตามกฎหมายแรงงาน
สาเหตุของการทุจริต
    1.มีโอกาสทุจริต
    2.มีผลประโยชน์จูงใจ
    3.มีความเสี่ยงภัยน้อย
    4.ไม่มีความซื่อสัตย์
    5.วัฒนธรรมในองค์กร
รูปแบบของการทุจริต
    1.เกิดจากปัจจัยภายนอก
    2.เจ้าของกิจการทุจริต
    3.ผู้บริหารและพนักงานทุจริต
    4.การรับประโยชน์ที่มิควรได้
    5.สวัสดิการที่สูงเกินควร
ลางบอกเหตุว่าจะมีการทุจริต
    1.นโยบายเอื้อประโยชน์พวกพ้อง
    2.พฤติกรรมที่ผิดปกติของคนในองค์กร
    3.ยอดขายและยอดสั่งซื้อที่ผิดปกติ
    4.การเพิ่มขึ้นของหนี้สินที่ผิดปกติ
    5.การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย
    6.ของหายหรือเสียบ่อย
    7.เงินสดขาดเกินบัญชีเป็นประจำ
    8.สินค้าคงคลังขาดบัญชี
    9.การใช้วัตถุดิบในการผลิตผิดปกติ
    10.จัดซื้อจัดจ้างแบบพิเศษ
    11.ระบบบัญชีไม่มีมาตรฐาน
    12.ตัดหนี้สูญโดยไม่มีเหตุอันสมควร
    13.ความผิดปกติของคู่แข่งหรือตลาด
    14.ความผิดปกติของตัวแทนจำหน่าย
    15.เรื่องร้องเรียนหรือบัตรสนเท่ห์
ปัจจัยที่สนับสนุนให้มีการทุจริตภายในสหกรณ์
    1.การขาดความโปร่งใสและขาดการตรวจสอบ
    2.การผูกขาด
    3.การได้รับค่าตอบแทนการทำงานที่ไม่เหมาะสม
ข้อควรปฏิบัติเมื่อพบการทุจริต
    1.ต้องตั้งสติให้ดี
    2.ปรึกษาผู้รู้นอกองค์กร
    3.ต้องรักษาความลับ
    4.สืบสวนหาหลักฐานทันที
    5.ร้องทุกข์กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน
    6.ฟ้องเป็นคดีอาญาด้วยตนเอง
    7.ฟ้องร้องเป็นคดีแพ่งหรือคดีแรงงานต่อศาล
    8.ขอคุ้มครองชั่วคราวในระหว่างพิจารณาคดี
ท่านใดสนใจเชิญ อ.เดชา กิตติวิทยานันท์  เป็นวิทยากรฝึกอบรม สอบถามรายละเอียดได้ที่ 02-9485700 คุณชัชชาลี

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก