อำนาจของพนักงานสอบสวนและพนักงานสืบสวนแตกต่างกันอย่างไร|อำนาจของพนักงานสอบสวนและพนักงานสืบสวนแตกต่างกันอย่างไร

อำนาจของพนักงานสอบสวนและพนักงานสืบสวนแตกต่างกันอย่างไร

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

อำนาจของพนักงานสอบสวนและพนักงานสืบสวนแตกต่างกันอย่างไร

  • Defalut Image

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3682/2566

บทความวันที่ 24 ม.ค. 2568, 11:58

มีผู้อ่านทั้งหมด 229 ครั้ง


อำนาจของพนักงานสอบสวนและพนักงานสืบสวนแตกต่างกันอย่างไร
#พนักงานสอบสวน #พนักงานสืบสวน #อำนาจในการสอบสวน #การสืบสวนสอบสวน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3682/2566
     อำนาจในการสืบสวนของเจ้าพนักงานตำรวจแตกต่างกับอำนาจในการสอบสวนของพนักงานสอบสวน กล่าวคือ พนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนเฉพาะคดีที่อยู่ในอำนาจของตนตามหลักเกณฑ์ที่บทบัญญัติไว้ใน ป.วิ.อ.มาตรา 18 และมาตรา 19 ส่วนอำนาจในการสืบสวนไม่มีกฎหมายจำกัดอำนาจให้เจ้าพนักงานตำรวจทำการสืบสวนได้เฉพาะในท้องที่ที่ตนประจำการได้เท่านั้น  เจ้าพนักงานตำรวจจึงมีอำนาจสืบสวนในท้องที่อื่นใดได้ตามอำนาจและหน้าที่ทั่วราชอาณาจักร ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 17 คดีนี้ แม้ร้อยตำรวจเอก ค. และดาบตำรวจ ร. จะเป็นเจ้าพนักงานตำรวจประจำการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร มิได้ประจำการในเขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรคลองหลวง อันเป็นเขตพื้นที่ของการสอบสวน  แต่การสืบสวนของเจ้าพนักงานตำรวจดังกล่าวในการแสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐาน ทั้งการติดตามจับกุมจำเลยก็เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย จึงเป็นการสืบสวนที่ชอบด้วยกฎหมาย การสอบสวนของพนักงานชอบแล้ว โจทก์มีอำนาจฟ้อง

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก