ข้อกฎหมายเกี่ยวกับค่าส่วนกลางอาคารชุด|ข้อกฎหมายเกี่ยวกับค่าส่วนกลางอาคารชุด

ข้อกฎหมายเกี่ยวกับค่าส่วนกลางอาคารชุด

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ข้อกฎหมายเกี่ยวกับค่าส่วนกลางอาคารชุด

ได้ซื้อห้องในอาคารชุด โดยได้โอนห้องเมื่อเดือน ต.ค. 56

บทความวันที่ 7 พ.ค. 2557, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 11392 ครั้ง


ข้อกฎหมายเกี่ยวกับค่าส่วนกลางอาคารชุด

   
             ได้ซื้อห้องในอาคารชุด โดยได้โอนห้องเมื่อเดือน ต.ค. 56 และได้ชำระค่าใช้จ่ายส่วนกลางล่วงหน้า 1 ปี โดยทางเจ้าของโครงการแจ้งว่าจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายส่วนกลางทั้งหมดจนถึงเดือน เม.ย. 57 จึงจะเริ่มหักค่าส่วนกลาง แต่เมื่อเดือนที่แล้วทางนิติบุคคลได้ออกใบเสร็จค่าส่วนกลางให้ ซึ่งเริ่มหักตั้งแต่เดือน ต.ค. 56 เลย ซึ่งผมตรวจสอบแล้วว่าในช่วงเวลาตั้งแต่เดือน ต.ค. 56 - มี.ค. 57 ทางเจ้าของโครงการเป็นผู้จ่ายค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกี่ยวของ ขอสอบถามว่า
            1. นิติบุคคลสามารถเรียกเก็บเงินซ้ำซ้อนในลักษณะนี้ได้หรือไม่ครับ
            2. ถ้าหากไม่สามารถทำได้ ผมสามารถยื่นร้องเรียนเรื่องนี้กับ สคบ. ได้หรือไม่


คำแนะนำสำนักงานทนายความ ทนายคลายทุกข์
           1.นิติบุคคลไม่อาจอาศัยสิทธิใดที่จะเรียกให้เจ้าของร่วมชำระค่าส่วนกลางซ้ำซ้อนกันได้เพราะตาม พ.ร.บ. อาคารชุด พ.ศ.2522 ไม่มีบทบัญญัติใดให้สิทธิแก่นิติบุคคลในกรณีดังกล่าวไว้
           2.เมื่อมีข้อพิพาทเกี่ยวกับคดีระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจ ก็ย่อมอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคดำเนินการตามกฎหมายได้

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก