ข้อกฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับการจำนำและการรับจำนำ|ข้อกฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับการจำนำและการรับจำนำ

ข้อกฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับการจำนำและการรับจำนำ

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

ข้อกฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับการจำนำและการรับจำนำ

  • Defalut Image

จำนำเป็นสัญญาระหว่างผู้จำนำกับผู้รับจำนำ ผู้จำนำต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จำนำให้แก่ผู้รับจำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้

บทความวันที่ 21 มี.ค. 2568, 15:08

มีผู้อ่านทั้งหมด 1047 ครั้ง


ข้อกฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับการจำนำและการรับจำนำ

             จำนำเป็นสัญญาระหว่างผู้จำนำกับผู้รับจำนำ ผู้จำนำต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จำนำให้แก่ผู้รับจำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ ผู้จำนำอาจเป็นลูกหนี้หรือบุคคลที่ 3 ก็ได้ เมื่อลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำระหนี้ผู้รับจำนำจะฟ้องให้ผู้จำนำซึ่งเป็นบุคคลที่สามชำระหนี้ไม่ได้ ได้แต่บังคับจำนำเอาทรัพย์สินที่จำนำขายทอดตลาดโดยไม่ต้องฟ้องคดีต่อศาล เมื่อขายทอดตลาดแล้วได้เงินมาไม่พอชำระหนี้ ผู้จำนำซึ่งเป็นบุคคลที่สามไม่ต้องรับผิดอีกต่อไป แต่ลูกหนี้ชั้นต้นยังคงต้องรับผิดในหนี้ที่ยังเหลืออยู่ สัญญาจำนำไม่จำต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ ข้อสำคัญจะต้องส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับจำนำ เมื่อสัญญาจำนำเกิดขึ้นแล้วต่อมาเจ้าหนี้ยอมให้ทรัพย์สินให้แก่ผู้รับจำนำ เมื่อสัญญาจำนำเกิดขึ้นแล้วต่อมาเจ้าหนี้ยอมให้ทรัพย์สินจำนำกลับคืนไปสู่ครอบครองของผู้จำนำไม่ว่าจะยอมกันด้วยวาจาหรือมีการทำหนังสือสัญญาเช่าทรัพย์ ก็มีผลทำให้สัญญาจำนำระงับ ผู้จำนำไม่ต้องรับผิดอีกต่อไป แต่ลูกหนี้ยังคงต้องรับผิดตามมูลหนี้ประธาน 
ตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ป.พ.พ. มาตรา 747 , ป.พ.พ. มาตรา 748
           1.ทรัพย์ที่จำนำต้องเป็นสังหาริมทรัพย์
           2.ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จำนำ
           3.หนี้ตามสัญญาจำนำเป็นหนี้อุปกรณ์
           4.ผู้รับจำนำต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ที่จำนำ

คำพิพากษาฎีกาที่เกี่ยวข้อง
           คำพิพากษาฎีกาที่ 2643/2531, ฎีกาที่ 1914/2526, ฎีกาที่ 173/2549, ฎีกาที่ 490/2502, ฎีกาที่ 1441/2505, ฎีกาที่ 4278/2534, ฎีกาที่ 1363/2550, ฎีกาที่ 545/2540 และฎีกาที่ 1612/2512, ฎีกาที่ 229/2522, ฎีกาที่ 1560/2527, ฎีกาที่ 449/2519, ฎีกาที่ 631/2503, ฎีกาที่ 1601/2512
มีข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายจำนำ หรือมีปัญหากฎหมาย สอบถามได้ที่ 02-9485700, 081-6161425, 081-6252161  

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก