สอบถามเรื่อง OT|สอบถามเรื่อง OT

สอบถามเรื่อง OT

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

สอบถามเรื่อง OT

ขอนิยามคำว่าโอทีหน่อย

บทความวันที่ 4 ก.พ. 2558, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 8609 ครั้ง


สอบถามเรื่อง OT

          1.ขอนิยามคำว่าโอทีหน่อย
          2.ขอคำปรึกษาค่ะ  พอดีพนักงานมาขอโอทีตอนเช้าเนื่องจากมีคำสั่งจากหัวหน้างานให้ไปทำงานตอนเช้าช่วงเวลาหกโมงค่ะ ดังนั้นพนักงานจึงเกิดข้อต่อรองขอโอทีในช่วงเช้าช่วง 6 โมง และ 7 โมงรวมเวลาสองชั่วโมงค่ะ  พอดีไม่เคยมมีประสบการณ์เรื่องการทำโอทีช่วงเช้าพนักงานค่ะ   เลยสงสัยว่าโอทีตอนเช้ามีด้วยหรือ และสมควรให้หรือไม่ และถ้าไม่ให้ผิดกฏหมายข้อใดมั้ยค่ะ


คำแนะนำสำนักงานทนายความ ทนายคลายทุกข์
          การทำงานล่วงเวลา หมายความว่า การทำงานนอกหรือเกินเวลาทำงานปกติหรือเกินชั่วโมงทำงานในแต่ละวันที่นายจ้างลูกจ้างตกลงกันในวันทำงานหรือวันหยุด แล้วแต่กรณี ส่วนค่าล่วงเวลา หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน ตามบทนิยามมาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ทั้งนี้ กรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาในวันทำงานหรือวันหยุดนายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้แก่ลูกจ้างตามที่กฎหมายกำหนดตามมาตรา 61, 63 ถ้าและนายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามเกี่ยวกับสิทธิได้รับเงินของลูกจ้างดังกล่าว จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน ลูกจ้างชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลแรงงานพิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคำสั่งในเรื่องดังกล่าวต่อไปตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 8(2)

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 3

บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงเวลาทำงาน

จาก 8:30 - 17:30 (8 ชม./วัน) ทำ จ-ศ, เสาร์เว้นเสาร์ 

มาเป็น 8:10 - 18:30 (8.8 ชม./วัน) ทำ จ-ศ

อยากถามว่าในการทำงานวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ (โอที) จะให้ทำงาน 8.8 ชม. โดยให้ค่าจ้างรายเดือน x 1 เท่า แบบนี้ถือว่าผิดกฏหมายไหมค่ะ

โดยคุณ baby 8 มี.ค. 2561, 00:08

ความคิดเห็นที่ 2

ที่โรงงานคิดโอทีแบบหาร8แต่ไม่คูน1.5แบบนี้ผิดกฎหมายแรงงานมะคะอยากรู้จิงๆ

โดยคุณ ได้หรอคะ 18 ม.ค. 2560, 02:11

ความคิดเห็นที่ 1

  ขอสอบถามครับ

1.เวลาทำงานปกติ จันทร์-เสาร์ เวลา 8.00-17.00 น. แต่ขาดงานวันพุธ แล้วบริษัทสามารถนำโอทีมาชดเชยวันที่พุธที่ขาดงานได้หรือไม่ครับ

โดยคุณ 18 ม.ค. 2559, 18:35

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก