การลงโทษทางวินัยลูกจ้าง|การลงโทษทางวินัยลูกจ้าง

การลงโทษทางวินัยลูกจ้าง

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

การลงโทษทางวินัยลูกจ้าง

  • Defalut Image

1.ต้องฟังข้อเท็จจริงให้ชัดเจนก่อนจึงจะลงโทษได้

บทความวันที่ 26 ก.พ. 2561, 14:35

มีผู้อ่านทั้งหมด 2825 ครั้ง


การลงโทษทางวินัยลูกจ้าง

1.ต้องฟังข้อเท็จจริงให้ชัดเจนก่อนจึงจะลงโทษได้
2.ต้องลงโทษตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ
3.ลงโทษตามข้อบังคับและตามกฎหมาย
4.บางกรณีต้องขออนุญาตศาลแรงงานก่อนเช่นการลงโทษกรรมการลูกจ้างเป็นต้นตามมาตรา 52
5.กรณีห้ามเลิกจ้างเช่นอยู่ระหว่างยื่นข้อเรียกร้อง
6.กรณีไม่มีขั้นตอนการลงโทษ
7.กรณีกระทำความผิดวินัยร้ายแรงขึ้นอยู่กับพฤติการณ์และความเสียหาย ฐานะตำแหน่งของผู้กระทำความผิดหรือผู้ถูกกระทำประกอบกันด้วย กระทำความผิดร้ายแรงหรือไม่ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับข้อบังคับ ถึงแม้จะระบุว่าร้ายแรงแต่พฤติการณ์อาจไม่ร้ายแรงก็ได้
8.หากไม่จำเป็นให้หลีกเลี่ยงการเลิกจ้าง
9.การลงโทษทางวินัยต้องยุติธรรมเท่าเทียมกัน
 

ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 4

ถามค่ะ.

อยากทราบว่า กรณีที่เราป่วยไม่สบายลางานมีใบรับรองแพทย์แต่นายจ้างจะส่งตัวเราให้ต้นสังกัดได้รึไม่.แล้วกรณีที่เราโทร.ลาในวันแรกแล้วแต่อีกวันยังไม่หายแต่ไม่ได้โทร.ลานายจ้างสามารถให้ใบเตือนเราทันทีเลยรึไม่?

      หนูยืนทำงานวันละ10ชม. มีช่วงเบรค 40นาที 

20นาที  และ40 นาที แต่ละเบรคต้องเข้างานก่อนเวลาประมาณ5-10นาที บางทีช่วงเบรค40เปนเวลาเบรคกินข้าว แล้วหนูทำงานอยู่โรง10 โรงอาหารอยู่ตึก3 แบบนี้เวลาเบรคหนูจะคิดเปน 1วันเบรคไม่ต่ำกว่า 1ชม.ได้ด้วยเหรอแบบนี้เราร้องเรียนได้รึป่าว


โดยคุณ ณัฐณีวรรณ 29 ก.ย. 2565, 04:22

ความคิดเห็นที่ 3

ต้องการทราบว่านายจ้าง ไม่ขึ้นทะเบียนประกันสังคมให้ เป็นเวลา 5-6 เดือนมีความผิดอย่างไร

โดยคุณ Mz7367 16 มิ.ย. 2562, 21:14

ความคิดเห็นที่ 2

   ขอสอบถามครับ.ในกรณีที่นายจ้างให้ใบเตือนและหักเงินค่าแรง 6 เท่าของค่าแรงต่อวัน


สาเหตุ.1เนื่องจาก ผจก.ให้ผมมาทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ของผม  เนื่องจากมีพนักงานในสายงานลาพักร้อน 1 คน 

     ในวันดังกล่าวนั้นผมไม่ได้มาทำงาน  แต่ในวันนั้นยังมีพนักงาน 2 คนที่ทำงานในวันนั้น และผจก.ก็มาช่วยทำงาน

         2.ผจก.ให้เพื่อนร่วมงานโทรตามผมมาทำงาน แต่ผมไม่ได้รับ

       รุ้งเช้าผมมาทำงาน ผจก.จึงเรียกผมเข้าพบและให้เซ็นใบ WORNING และหักเงิน 6 เท่าของค่าแรง ที่หัก 6 เท่าเพราะผจก.บอกว่าเป็นใบWORNING ครั้งที่สอง 

****อยากทราบว่าในกรณีแบบนี้สามารถหักแรง 6 เท่าได้หรือป่าวคับ***


     ขอแสดงความเคารพอย่างสูงและขอบคุณสำหรับคำปรึกษา

       

โดยคุณ นายขจรศักดิ์ ช่วยการ 9 มิ.ย. 2562, 22:41

ตอบความคิดเห็นที่ 2

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541กำหนดไว้ว่า ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุด เว้นแต่ในลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็นงานฉุกเฉินนายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดได้เท่าที่จำเป็นตามมตรา 25 หากงานที่คุณทำไม่ใช่งานที่มีลักษณะดังกล่าวแล้ว การที่นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดจะต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อนครับ หากคุณไม่ไปนายจ้างก็ไม่มีสิทธิหักค่าแรงครับ  

โดยคุณ ทีมงานทนายคลายทุกข์ 2 ก.ค. 2562, 11:32

ความคิดเห็นที่ 1

อย่าทราบว่าในกรณี ผู้สมัครอ้างสิทธิของลูกจ้างในวันที่สมัครงานไม่ให้ตรวจสอบประวัติหรือซักถามประวัติก่อนเซ็นสัญญาจ้างได้หรือไม่ครับ  และนายจ้างไม่จ้างได้  หรื่อ ไม่ ครับ

โดยคุณ Hr 25 มี.ค. 2561, 12:02

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก