จ่ายค่าส่วนกลางแต่ไม่สร้างสาธารณูปโภค|จ่ายค่าส่วนกลางแต่ไม่สร้างสาธารณูปโภค

จ่ายค่าส่วนกลางแต่ไม่สร้างสาธารณูปโภค

  • ทนายคลายทุกข์ ปรึกษากฎหมาย โทร 02-9485700
  • Email: [email protected]
Header Background Image

งานเผยแพร่ความรู้ทางด้าน กฎหมาย การบริหารการจัดการหนี้สินในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน การฝึกอบรมสัมมนาพัฒนาบุคลากร ในการประกอบธุรกิจ หากหน่วยงานของรัฐ บริษัทห้างร้าน มีความสนใจ เชิญทีมงานไปฝึกอบรมสัมมนาหรือต้องการข้อมูลข่าวสาร ติดต่อได้ที่ 02-948-5700 อ่านต่อ

ท่านใดที่สนใจเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการติดตามหนี้ ทวงหนี้อย่างไรให้ได้ผล ได้เงิน รักษาภาพลักษณ์ รักษาลูกค้า/หลักสูตรการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตภายในองค์กร/หลักสูตรกฎหมายแรงงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารบริษัท สนใจโทร.02-9485700 อ่านต่อ

สืบทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ มีเรื่องคาใจอยากรู้ความจริง โทรมาคุยกับกุ้งได้ที่ 081-625-2161หรือ 089-669-5026 "อย่าปล่อยให้มีเรื่องคาใจ อะไรที่ไม่สบายใจ ต้องหาทางปลดปล่อย สืบให้รู้ความจริง จะได้จบสิ้นกันเสียที สำหรับความทุกข์ที่คาใจมาเป็นเวลานาน อย่าปล่อยให้คนนอกใจลอยนวล" อ่านต่อ

รับแปลเอกสารต่างๆ อ่านต่อ

จ่ายค่าส่วนกลางแต่ไม่สร้างสาธารณูปโภค

นิติบุคคลขึ้นค่าส่วนกลางเท่าตัว วัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบระบายน้ำป้องกันน้ำท่วมขัง

บทความวันที่ 28 ก.พ. 2557, 00:00

มีผู้อ่านทั้งหมด 11464 ครั้ง


จ่ายค่าส่วนกลางแต่ไม่สร้างสาธารณูปโภค

    
             นิติบุคคลขึ้นค่าส่วนกลางเท่าตัว วัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบระบายน้ำป้องกันน้ำท่วมขัง แต่มีลูกบ้านหลายหลังไม่จ่าย ทำให้เก็บเงินได้น้อยกว่าตอนไม่ขึ้นด้วยซ้ำ ทำให้ไม่สามารถสร้างระบบระบายน้ำได้ แล้วลูกบ้านที่จ่ายในราคาใหม่ แต่ไม่ได้ระบบสูบน้ำควรทำยังไงครับ

คำแนะนำสำนักงานทนายความ ทนายคลายทุกข์
            นิติบุคคลอาคารชุดที่ได้จดทะเบียนย่อมมีฐานะเป็นนิติบุคคลและมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการดูแลรักษาทรัพย์ส่วนกลาง และการกระทำใด ๆ เพื่อประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ทั้งนี้ ตามมติของเจ้าของร่วม โดยการเรียกค่าใช้จ่ายเป็นค่าส่วนกลางเพื่อสร้างระบบระบายน้ำป้องกันน้ำท่วมขังอาคารชุด ย่อมเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการดูแลรักษาและการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์ส่วนกลางอันเกิดจากการให้บริการส่วนร่วมนั้น โดยถ้าเจ้าของรวมคนใดไม่ชำระเงินค่าส่วนกลางตามที่นิติบุคคลเรียกเก็บดังกล่าวภายในเวลาที่กำหนดก็ต้องเสียเงินเพิ่มตามอัตราที่กำหนดไว้ในมาตรา 18/1 แห่ง พรบ.อาคารชุด 2522

แสดงความเห็น

ข่าวที่มีผู้อ่านมาก